เรียนรู้จากครูอเมริกัน: ตอนที่ 2 ครูวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาตอนปลาย

    เชิญเรียนรู้แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ในระดับ ม.ปลาย ของครูชาวอเมริกันได้จากบทความ เรียนรู้จากครูอเมริกัน: ตอนที่ 2 ครูวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาตอนปลาย  จากนิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 204 โดยคลิกที่ภาพปกนิตยสาร Read More.

สิ่งที่เด็ก ๆ เรียนรู้จากวัฒนธรรมและวิธีคิดของชาวญี่ปุ่น

หลายคนรวมถึงผู้เขียนอาจเคยสงสัยว่า เหตุใดประเทศญี่ปุ่นจึงเจริญ และเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจ จากการที่ได้นำนักเรียนเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนสำหรับนักเรียนที่มีความสนใจทางวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อว่า Sakura Science (Japan-Asia Youth Exchange Program in Science) ณ ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 7-13 Read More.

Linus Pauling บิดาของวิชา เคมีควอนตัม

เมื่ออายุได้เพียง 31 ปี Linus Pauling ก็รู้ว่าตนคือนักเคมีที่เก่งที่สุดในโลก อีก 10 ปีต่อมา นักเคมีทั่วโลกต่างก็ยอมรับว่า Pauling เก่งจริง เพราะเขาคือนักเคมีคนแรกที่นำวิชากลศาสตร์ควอนตัมของฟิสิกส์มาอธิบายการเกิดพันธะต่าง ๆ ทางเคมี Read More.

แว่นวีอาร์ สื่อเรียนรู้เสมือนจริงแห่งอนาคต (VR: Virtual Reality)

บริษัทกูเกิลได้พัฒนาต้นแบบกล้อง ที่ทำจากกระดาษแข็งซึ่งมีลักษณะคล้ายกล้องสองตา และเรียกว่า Google Cardboard เมื่อนำโทรศัพท์มาติดตั้งที่ด้านหน้าของกล้องแล้วมอง ผ่านช่องมองภาพ จะเห็นภาพในสามมิติเสมือนจริง กล้องดังกล่าวมีหลักการทำงานอย่างไร  เชิญเรียนรู้ได้จากบทความ แว่นวีอาร์ สื่อเรียนรู้เสมือนจริงแห่งอนาคต (VR: Virtual Reality) ในนิตยสาร สสวท. Read More.